Fujitsu ASMG12CMCA Bruksanvisning
Läs nedan 📖 manual på svenska för Fujitsu ASMG12CMCA (12 sidor) i kategorin Splitter. Denna guide var användbar för 8 personer och betygsatt med 4.5 stjärnor i genomsnitt av 2 användare
Sida 1/12
Th-1
1. ขอควรระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
• โปรดอานขอมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยทั้งหมดในคูมือนี้โดยละเอียดกอนทําการติดตั้งหรือใชงานเครื่องปรับ
อากาศ
• คําเตือน และขอควรระวังที่ระบุในคูมือเลมนี้มีขอมูลที่สําคัญเกี่ยวกับความปลอดภัยของคุณ โปรดแนใจวาได
ปฏิบัติตามที่ระบุไว
• สงคูมือเลมนี้พรอมกับคูมือการใชงานใหแกลูกคา กรุณาแจงใหลูกคาเก็บคูมือนี้ไวเพื่อใชในอนาคต เชน การ
ยาย หรือซอมแซมเครื่อง
คําเตือน แสดงถึงสถานการณที่มีความเสี่ยง หรืออาจเกิดอันตรายรายแรง ซึ่งหากไม
หลีกเลี่ยง อาจทําใหถึงแกชีวิตหรือบาดเจ็บรายแรง
ขอควรระวัง
แสดงถึงสถานการณที่มีความเสี่ยงตออันตรายรายแรงที่อาจทําใหเกิดการบาด
เจ็บเล็กนอย หรือปานกลาง หรือเกิดความเสียหายตอทรัพยสิน
คําเตือน
เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟดูด อยาสัมผัสชิ้นสวนอุปกรณไฟฟาทันทีหลังจากที่เพิ่งปดเครื่อง หลังจากปดเครื่อง
รออยางนอย นาทีเสมอ กอนที่จะสัมผัสกับชิ้นสวนอุปกรณไฟฟา 10
การตดตงผลตภณฑ องดาเนนการตามว การในค อนโดยชางเทคนคท ประสบการณ หรอชางตดตงมิ ั้ ิ ั นี้ต ํ ิ ิธี ูมื ี้ ิ ี่มี ื ิ ั้ ือ
อาชีพเทานั้น การติดตั้งโดยชางที่ไมใชมืออาชีพหรือการติดตั้งผิดวิธีอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุรายแรง เชน เกิด
การบาดเจ็บ นํ้ ั่ ึมารวซ ไฟดูด หรออคค ยไดื ั ีภั หากตดตงผลตภณฑ ไม กตองตามคาแนะนาในค อนิ ั้ ิ ั นี้ ถู ํ ํ ูมื ี้ จะทาใหํ
การรับประกันสินคาจากผูผลิตสิ้นสุดลง
อยาเปดแหลงจายไฟจนกวาจะทางานทงหมดเสรจสมบรณ การเปดแหลงจายไฟกอนงานเสรจสมบรณ อาจ ํ ั้ ็ ู ็ ู
ทําใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงได เชน ไฟดูด หรือไฟไหม
หากนายาแอร วขณะกาลงทางาน โปรดระบายอากาศในบรเวณน หากนายาแอร วสมผสกบเปลวไฟํ้ รั่ ํ ั ํ ิ ั้น ํ้ ที่รั่ ั ั ั
โดยตรง อาจทําใหเกิดกาซพิ ษได
การตดตงตองดาเนนการตามระเบยบปฏิ ั้ ํ ิ ี ิบัติ กฎหมายบงคั ับ หรอมาตรฐานของการตื อสายไฟและอปกรณของุ
แตละประเทศ ภูมิภาค หรือสถานที่ทําการติดตั้ง
ไมควรใช ปกรณ บเครองปรบอากาศหรอนายาแอรนอกเหนอจากทระบในสายนายาแอร อุ นี้กั ื่ ั ื ํ้ ื ี่ ุ ํ้ แรงกระแทกแรง
อาจทําใหเกิดการแตกราว
ระหวางทาการตดต ํ ิ ั้ง ควรแนใจว าทอนายาแอรํ้ ติดแนนก อนทจะใชงานคอมเพรสเซอรี่
ไมควรใชงานคอมเพรสเซอร
ในสภาพทการเดนทอนายาแอรไม ดแนี่ ิ ํ้ ติ น โดยมวาล หร ทางเปดอยี ว 2 ือ 3 ู อาจสงผลใหเกดแรงดนท ดปกต ิ ั ี่ผิ ิ
ในวงจรนํ้ายาแอรที่อาจทําใหเกิดการแตกหักและการบาดเจ็บได
เมอตดต และเคลอนยายเครองปรบอากาศื่ ิ ั้ง ื่ ื่ ั อยาผสมกาซชนดอนนอกเหนอจากนายาแอร าหนด ิ ื่ ื ํ้ ที่กํ (R32)
เขาสูวงจรนํ้ายาแอร หากมีอากาศ หรือกาซชนิดอื่นเขาสูวงจรนํ้ายาแอร แรงดันภายในวงจรจะเพิ่มสูงขึ้นผิด
ปกติ ทําใหเกิดความขัดของ หรือการบาดเจ็บ ฯลฯ
เพื่อใหเครื่องปรับอากาศทํางานไดอยางเหมาะสม โปรดติดตั้งเครื่องตามวิธีการในคูมือนี้
ในการเชอมตอเครองภายในและภายนอกอาคารื่ ื่ ใหใช อและสายเครองปรบอากาศท วแทนจ ท ื่ ั ี่มีตั ํ ูาหนายอยใน
ทองที่ของคุณ คูมือเลมนี้ไดอธิบายถึงการเชื่อมตอที่ถูกวิธีโดยใชชุดอุปกรณติดตั้งดังกลาว
อยาดดแปลงสายไฟ ใชสายตอพ ั วง หรอตอสายเพ การเชอมตอทไมเหมาะสม การใชงานทไมเหมาะสม อาจ ื ิ่ม ื่ ี่ ี่
ทํ ิ าใหเกดไฟฟาลั ื ื่ ี่ ถู ดวงจรหรอไฟไหมจากการเชอมตอทไม กตอง ฉนวนกนความรอนไมั มี ิ ิประสทธภาพ หรอกระแสื
ไฟเกิน
ไมควรลางเครื่องปรับอากาศที่มีนํ้ายาแอรอยู แตใหใชปมสุญญากาศทําการดูดสุญญากาศ
ไมมีนํ้ายาแอรเพิ่มเติมในตัวเครื่องภายนอกสําหรับการไลอากาศ
ไมควรเรงกระบวนการละลายนํ้าแข็งหรือการทําความสะอาดใด ๆ นอกเหนือจากที่ผูผลิตแนะนํา
ควรเก็บเครื่องใชไฟฟาไวภายในหองที่ไมใชงานอยางตอเนื่องกับแหลงไวไฟ เชน เปลวไฟ เครื่องใชไฟฟาที่ ( ,
ใชกาซ หรื อ อุปกรณทําความรอนใด ๆ )
อยาเจาะหรือเผา
คําเตือน
โปรดระวังนํ้ายาแอร เนื่องจากอาจไมสงกลิ่น
การใชปมสุญญากาศรวมกับนํ้ายาแอรประเภทอื่นอาจทําใหปมสุญญากาศหรือตัวเครื่องเสียหายได
ใชเกจทอรวมที่สะอาด ปมสุญญากาศและทอเติมนํ้ายาแอรสําหรับ หรือ โดยเฉพาะ R32 R410A
ไมควรดัดแปลงเครื่องนี้ เชน การเจาะรูที่เครื่องแอร
ระหวางทาการดดนายาแอร ควรแนใจวาปดคอมเพรสเซอรแล อนทจะถอดทอนายาแอร ไมควรถอดท ํ ู ํ้ ว ก ี่ ํ้ อ
เชื่อมตอขณะที่คอมเพรสเซอรทํางานในการทํางาน วาลว ทาง หรือ ทางเปดอยู 2 3 อาจสงผลใหเกิดแรงดัน
ที่ผิดปกติในวงจรนํ้ายาแอรที่อาจทําใหเกิดการแตกหักและการบาดเจ็บได
ขอควรระวัง
เครองปรบอากาศน องได บการตดตงโดยตวแทนทได บการรบรองบนพนท สามารถรองรบของเหลวจากื่ ั ี้ต รั ิ ั้ ั ี่ รั ั ื้ ี่ที่ ั
นํ้ายาแอรเทานั้น อางอิงตามกฎระเบียบและกฎหมายของสถานที่ที่ติดตั้ง
ติ ั้ ิ ั ดตงผลตภณฑตามกฎหมายในทองท หรอระเบยบขอบงคบของสถานท าการตดต และตามคาแนะนาของี่ ื ี ั ั ี่ที่ทํ ิ ั้ง ํ ํ
ผูผลิต
ผลตภณฑิ ั นี้ ึ่ ุ ื่ ั ิ ั้ ิ ั นี้ ํ ัง ื ิ ั้งเปนสวนประกอบหนงของชดเครองปรบอากาศ อยาตดตงผลตภณฑ เองโดยลาพ หรอตดต
ดวยอุปกรณที่ไมผานการรับรองจากผูผลิตอยางเปนทางการ
ขณะทาการตดตงทอท ความยาวนอยกวํ ิ ั้ ี่มี า
3
เมตร จะเกดเสยงจากตวเครองภายนอกสงมายงตวเครองภายในิ ี ั ื่ ั ั ื่
ซึ่งอาจทําใหเกิดเสียงดังระหวางใชงานหรือเสียงผิดปกติ
เพอปองก ใชงานื่ ั ูนผ ควรตอสายดนเขากบผลตภณฑ กต ิ ั ิ ั ถูให อง และใชสายไฟรวมก ับเบรกเกอรตั ั ัติดไฟอตโนม
Earth Leakage Circuit Breaker (ELCB)
ผลตภณฑ ไมไดิ ั นี้ ผลตจากวสด องกนการระเบิ ั ุป ั
ิด ดังนนจงไมควรทาการต งในสภาพแวดลั้ ึ ํ ิ ั้ดต อมที่ ี่ ุดเสยงตอการจ
ระเบิดได
ผลตภณฑ ไม นสิ ั นี้ มีชิ้ วนท ใชสามารถซอมบารงเองได โปรดตดตอชางเทคนคท ประสบการณเพอทาการซี่ผู ํ ุ ิ ิ ี่มี ื่ ํ
อม
เครื่อง
เม ใหื่ ํ ื่ ื ี่ ํ ื่ ัอตองทาการเคลอนยายหรอเปลยนตาแหนงเครองปรบอากาศ ึ ี่มีปรกษาชางท ประสบการณเพอรอถอน ื่ ื้
และติดตั้งผลิตภัณฑใหม
ควรดูแลไมใหเด็กเลนเครื่องใชไฟฟา
อุ ื่ ื่ ุ ึ ็ ็กปกรณเครองใชไฟฟาไมไดออกแบบมาเพอใชงานโดยบคคล รวมถ ( งเดกเล ) ที่มี ความบกพรองทางรางกาย
ประสาทสมผ หรอสภาพจ หรอขาดประสบการณหรอความร หากพวกเขาไม บการด หรอแนะนั ัส ื ิต ื ื ู รัได ูแล ื ํา
เกี่ ั อุ ื่ ุ ูมียวกบการใช ปกรณเครองใชไฟฟาโดยบคคลผ หนาท บผดชอบดานความปลอดภ ควรดแลไมใหเดกเล ี่รั ิ ัย ู ็ น
เครองใชื่ ไฟฟา
อยาสมผสครบอล เนยมของตวแลกเปลยนความรอนภายใน วผลตภณฑ เพอหลกเลยงการได บบาดเจ ั ั ี ูมิ ี ั ี่ ตั ิ ั ื่ ี ี่ รั ็บ
เมื่อคุณติดตั้งหรือซอมบํารุงเครื่อง
อยาวางอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น หรือเครื่องใชภายในบาน ไวใตผลิตภัณฑนี้ หยดนํ้าจากเครื่องอาจทําใหสิ่ง
เหลานั้นเปยก และอาจทําใหเกิดความเสียหาย หรือความผิดปกติตอทรัพยสินของคุณ
ขอควรระวังเกี่ยวกับการใชนํ้ายาแอร R32
ขั้ ิ ั้ ื้ ื ั ุ ี่ นํ้ ิทั่นตอนงานตดตงโดยพนฐานจะเหมอนกบรนทใช ายาแอรปกต วไป อยางไรกตาม (R410A, R22) ็ ควรใชความ
ระมัดระวังเปนพิเศษในประเด็นตางๆ ตอไปนี้ :
คําเตือน
เนองจากแรงดนทางานสงกวานายาแอรื่ ั ํ ู ํ้ รุน R22 ที่
1.6
เทา จึ ทํ ิ งตองใช าการเดนทอและการตดตงและเครองิ ั้ ื่
มื ิ ิ ดูหั ออชนดพเศษ ( วข “2.1 พิ ื่ ื ํ ับ ิ่งเศษเครองมอสาหร R32 (R410A)”) โดยเฉพาะอยางย ขณะท าการเปลยนี่ทํ ี่
นํ้ายาแอรรุน ไปใชนํ้ายาแอรรุน เปลี่ยนทอและน็ R22 R32 อตหัวผาธรรมดา ดวยทอและน็อตหัวผาที่ใชกับ
นํ้ รุน ั ื่ สํ ับ น็ ั ายาแอร R32 และ ของต R410A วเครองภายนอกเสมอ าหร R32 และ R410A อตหวผาแบบ
เดียวกันบนดานขางตัวเครื่องภายนอกและทอสามารถใชดวยกันได
เครื่องปรับอากาศ
แบบติดผนัง คูมือการติดตั้ง
สารบัญ
1. ขอควรระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย ...................................................................................1
2. เกี่ยวกับผลิตภัณฑ .................................................................................................................3
3. ขอมูลจําเพาะทั่วไป ................................................................................................................4
4. ขอบังคับดานไฟฟา ................................................................................................................4
5. การเลือกตําแหนงในการติดตั้ง ............................................................................................4
6. งานสวนการติดตั้ง .................................................................................................................5
7. การเดินสายไฟ .......................................................................................................................6
8. การเสร็จสิ้น ............................................................................................................................7
9. การถอดและการติดตั้งแผงดานหนา ..................................................................................7
10. ทดสอบการเดินเครื่อง ..........................................................................................................7
11. การติดตั้งรีโมทคอนโทรล .....................................................................................................8
12. ........................................................................8การติดตั้งชุดสวนประกอบที่เลือกใชงานได
13. งานสวนการติดตั้ง .................................................................................................................8
14. การเลือกรหัสแบบตั้งคาเองของรีโมทคอนโทรล ............................................................ 11
15. การตั้งคาหนาที ่การทํางาน ................................................................................................ 11
16. คําแนะนําสําหรับลูกคา ...................................................................................................... 12
17. รหัสแสดงขอผิดพลาด ....................................................................................................... 12
PART No. 9387082180
สําหรับเจาหนาที่ซอมบํารุงที่ไดรับอนุญาตแลวเทานั้น
R32
R32.
ไทย
Th-2
รุนที่ใชนํ้ายาแอร และ มีเสนผานศูนยกลางเกลียวของพอรตเติมนํ้ายาที่แตกตางจากเดิม R32 R410A เพื่อ
ป ั ิ ิ ํ้ ิ ื่ ัยองกนการผดพลาดจากการเตมนายาแอรแบบปกต R22 และเพอความปลอดภ ดั ั้นงน ควรตรวจสอบลวง
หนา เสนผานศูนยกลางเกลียวของพอรตเติมนํ้ายาแอรสําหรับ และ คือ นิ้ว [ R32 R410A 1/2 ]
โปรดเพิ่มความระมัดระวังไมใหสิ่งแปลกปลอม นํ้ามัน นํ้า ฯลฯ เขาสูทอ ( , )
นอกจากนี้ขณะติดตั้งทอ ควรซีลชองเปดตางๆ ใหสนิทดวยการบีบ การพันเทป ฯลฯ ,
ขอควรระวัง
1. ( )การติดตั้ง พื้นที่
• การติดตั้งงานทอ ควรใชทอใหนอยที่สุด
• ควรมีการปองกันการเสียหายของงานทอ
• คํานึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบเรื่องกาซของทองถิ่น
• การเชื่อมตอตาง ๆ ควรคํานึงถึงการเขาถึงเพื่อทําการบํารุงรักษา
• ในกรณีนี้ จําเปนตองใหมีการถายเทอากาศ ไมใหมีสิ่งอุดตันชองระบายความรอน
• เมื่อตองการกําจัดผลิตภัณฑที่ใชแลว ตองปฏิบัติตามมาตรฐานกฎระเบียบอยางเครงครัด
2.การบริการ
2-1.ผูใหบริการ
• บุ ี่ ี่ ั ํ ื ั ํ้ ูที่ รั ั ู ิตคคลใดทเกยวของกบการทางานหรอการตดเขาวงจรนายาแอรควรเปนผ ได บการรบรองจากผผล ที่
สามารถดําเนินการรับมือนํ้ายาแอรไดอยางปลอดภัย สอดคลองกับการประเมินของผูผลิตโดยเฉพาะ
• การใหบรการควรดาเนนการโดยอปกรณ แนะนาโดยผผลตเทาน ิ ํ ิ ุ ที่ ํ ู ิ ั้น การบํ ุ ั ที่ารงรกษาและการซอมแซม
ตองการความชวยเหลือของชางดานอื่น ๆ ตองดําเนินการภายใตการดูแลของผูที่ไดรับการรับรองในการ
ใชนํ้ายาแอรไวไฟ
• การใหบริการควรดําเนินการโดยอุปกรณที่แนะนําโดยผูผลิตเทานั้น
2-2. การทํางาน
• ควรตรวจสอบความปลอดภยกอนทางานใดั ํ ๆ กั ี่มีนํ้ บระบบท ายาแอรไวไฟ เพอใหความเสยงทอาจจะเกื่ ี่ ี่ ิด
การติดไฟไดมีนอยที่สุด ควรคํานึงถึง ข อควรระวังในหัวขอ ถึง เปนอันดับแรกกอนเริ่มทําการ 2-2 2-8
ซอมระบบนํ้ายาแอร
• การทางานํ ต ํ ิ ู ขั้ ี่ ุมองดาเนนอยภายใต นตอนทควบค เพอใหความเสยงในการตดไฟของกาซหรอไอระเหยื่ ี่ ิ ื
ขณะดําเนินการมีนอยที่สุด
• พนกงานซอมบารั ํ ุง ตลอดจนพนกงานอั ื่น ๆ ในพนทื้ ี่ ต รั ํ ํ ึ ัองได บคาแนะนาถงลกษณะงานท องทาอยี่ต ํ าง
ชัดเจน
• หลีกเลี่ยงการทํางานในพื้นที่จํากัด
• ควรปดกั้นบริเวณการทํางาน
• ควรแนใจวาสภาพของพื้นที่่ มีการรักษาความปลอดภัยดวยการควบคุมวัตถุไวไฟ
2-3.การตรวจสอบสถานะของนํ้ายาแอร
• ควรมีการตรวจจับนํ้ายาแอรในพื้นที่ทํางาน เพื่อใหแนใจวาชางระมัดระวังไมใหเกิดบรรยากาศที่ติดไฟได
• ควรแนใจวามการใช ปกรณตรวจจบการรวไหลทเหมาะสมกบนายาแอรแบบไวไฟ ี อุ ั ั่ ี่ ั ํ้ เชน ไมมีประกายไฟ
ปดผนึกอยางดี หรือมีความปลอดภัยสูง
2-4. สถานะของอุปกรณดับเพลิง
• หากมการใชความรอนในการทางานกบอปกรณี ํ ั ุ นํ้ ายาแอร หรอชนสวนประกอบอนใดื ิ้ ื่ ควรจดเตรยมอปกรณั ี ุ
ดับเพลิงไวใกลมือ
• COควรมีอุปกรณดับเพลิงทั้งแบบฝุน หรือ 2
ในพื้นที่เติมนํ้ายาแอร
2-5.ปราศจากแหลงกําเนิดการเผาไหม
• ห บุ ี่ทํามให คคลท างานเกยวกบระบบนายาแอร เกยวกบการเดนทอซงม ายาแอรไวไฟใชี่ ั ํ้ ที่ ี่ ั ิ ึ่ ีนํ้ แหลงกาเนดการ ํ ิ
เผาไหมใด ๆ เพราะอาจทําใหเกิดความเสี่ยงไฟไหมและระเบิดได
• ในบรเวณท างานตดติ ี่ทํ ิ ั้ง งานซอมแซม การถอด การกาจดทอาจมํ ั ี่ ีนํ้ ายาแอรไหลออกมา ไมควรให แหล มี ง
กําเนิดการเผาไหมทุกชนิดรวมถึงการสูบบุหรี่ดวย
• ควรตรวจสอบพนทในการปฏ งานกอนทางานื้ ี่ ิบัติ ํ ใหแนใจวาปราศจากวตถไวไฟ ั ุ และความเสยงในการเกี่ ิด
การเผาไหม ควรมีการแสดงสัญลักษณ หามสูบบุหรี่ “ ”
2-6. พื้นที่ที่มีอากาศถายเท
• ควรแนใจวาบรเวณเป ิ นแบบเป
ด มี อากาศถายเทได กอนท ํ ั ูาการตดเขาสระบบหรอดาเนนการใดื ํ ิ ๆ ที่ ใชความ
รอน
• ควรใหมีการถายเทอากาศอยางสมํ่าเสมอตลอดระยะเวลาการทํางาน
• การถายเทอากาศจะชวยใหปลอดภยไดในกรณ ายาแอรกระจาย ั ีที่นํ้ เพอชวยดนออกไปส นบรรยากาศื่ ั ูชั้
ภายนอก
2-7. ตรวจสอบอุปกรณนํ้ายาแอร
• หากมการเปลยนแปลงชนสวนไฟฟี ี่ ิ้ าใด ควรใหเหมาะสมกบว ประสงค ั ั ุตถ การใชงานและถกตู ัองตามลกษณะ
ที่กําหนด
• ควรปฏิบัติตามการบริการและการซอมบํารุงของผูผลิตอยูเสมอ
• หากมีขอสงสัย ใหปรึกษาแผนกชางจากผูผลิตสําหรับการชวยเหลือ
• การติดตั้งที่ใชนํ้ายาแอรไวไฟ ตองทําการตรวจสอบรายการดังนี้
- ปริมาณที่เติมเปนไปตามขนาดหองที่ทําการติดตั้งชิ้นสวนที่มีนํ้ายาแอร
- เครื่องและชองระบายอากาศสามารถทํางานไดดี ไมถูกปดกั้น
- หากมีการใชวงจรนํ้ายาแอรทางออม ควรมีการตรวจสอบนํ้ายาแอรในวงจรรอง
- ทํ ื่ ุ าเครองหมายอปกรณให ็ ชัสามารถอานงายและมองเหนได ดเจน แกไขเครองหมายทไมสามารถอาน ื่ ี่
ไดชัดเจน
- ท ํ้ อนายาแอร หรอสวนประกอบใดื ที่มี ิ ั้ ํ ี่ ต ั ั ีการตดตงในตาแหนงทไม องสมผสสารเคมใด ๆ ซึ่ ํ งอาจทาให
ชิ้ ี่มีนํ้ ิ ิม ิ้ ั้ ินสวนท ายาแอรเกดสน นอกจากชนสวนนนผลตจากวสด องกนสน หร ไมสามารถเกั ุที่ป ั ิม ือ ิด
สนิมได
2.-8 ตรวจสอบอุปกรณไฟฟา
• ควรมการซอมแซมและตรวจสอบอปกรณไฟฟี ุ า รวมถงการตรวจสอบความปลอดภยและขนตอนการตรวจึ ั ั้
สอบชิ้นสวนดวย
• หากพบอาการผดปกต งผลกระทบตอความปลอดภิ ิที่ส ัย ใหถอดปลกออกจากวงจรใหหมด ั๊ จนกวาจะแกไข
อาการผิดปกติแลวเสร็จ
• หากไมสามารถแกไขอาการผิดปกติไดทันที แตจําเปนตองใชงานตอไป ควรหาวิธีแกไขปญหาชั่วคราว
• ซึ่งตองรายงานใหกับเจาของอุปกรณทราบ
• รวมถึงการตรวจสอบความปลอดภัยเบื้องตนดวย
- การปลอยประจุ ตองดําเนินการอยางปลอดภัย หลีกเลี่ยงความเปนไปไดของการเกิดประกายไฟ:
- ไมมีชิ้นสวนไฟฟา หรือสายไฟอยูในบริเวณที่ทําการเติมนํ้ายาแอร กูคืน หรือการลางระบบ
- มีการตอสายดิน
3.การซอมแซมปดผนึกชิ้นสวน
• ระหวางดําเนินการซอมแซมปดผนึกชิ้นสวน อุปกรณไฟฟาตองถอดปลั๊กออกจากอุปกรณที่ใชดําเนินการ
ทั้งหมด กอนเริ่มทําการถอดปลอกผนึก เปนตน
• หากจาเปนตองใช ปกรณํ อุ ิไฟไฟาระหวางการใหบรการ แจงรปแบบการตรวจจบการรวไหลแบบถาวรตอง ู ั ั่
ตั้งอยูในบริเวณที่สําคัญที่สุดที่สามารถเตือนในกรณีที่เกิดอันตราย
• เพอใหแนใจวาการทางานกบอปกรณไฟฟื่ ํ ั ุ า ในกรณ ไม การเปลยนแปลงในระดบท งผลกระทบตอการีที่ มี ี่ ั ี่ส
ปองกัน จึงควรใหความสนใจกับรายการดังนี้
• โดยรวมถงความเสยหายตอสายไฟึ ี การเชอมตอในปรื่ ิ ิมาณมากเกนไป ขั้ ี่กํวตอไมเปนไปตามท าหนด ความ
เสียงตอการปดผนึก เปนตน
• ควรแนใจวามีการติดตั้งเครื่องมือไวอยางปลอดภัย
• ควรแนใจวาการปดผนกหรอวสดในการปดผนกไมไดเกดการสลายต ึ ื ั ุ ึ ิ ัว เชนไมตอบสนองตอวตถประสงค ั ุ
ในการปองกันแทรกซึมของบรรยากาศไวไฟ
• การเปลี่ยนชิ้นสวนควรปฏิบัติตามขอกําหนดของผูผลิต
หมายเหตุ: การใชซิลิ ึก ํ ั ั ั่ ต ีโคนในการปดผน อาจสงผลกระทบตอการทางานของตวตรวจจบการรวไหลไม องม
การแยกชิ้นสวนกอนการใชงานชิ้นสวนความปลอดภัยสูง
4.การซอมแซมชิ้นสวนความปลอดภัยสูง
• ไมควรใชอุปกรณเหนี่ยวนําหรือตัวเก็บประจุแบบถาวรเขาไปในวงจรโดยไมแนใจวาแรงดันไฟฟาเกินกวา
ที่อนุญาตและกระแสไฟฟาไหลเวียนที่อนุญาตใหอุปกรณใชงาน
• ชิ้นสวนความปลอดภัยสูงเปนประเภทเดียวที่สามารถใชงานในขณะที่มีบรรยากาศไวไฟ
• เครื่องมือทดสอบควรอยูในระดับที่ถูกตอง
• เปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ ดวยอะไหลที่ผูผลิตกําหนดไวเทานั้น
• หากใชอะไหลอื่นอาจทําใหนํ้ายาแอรรั่วไหลเขาสูบรรยากาศและติดไฟได
5. การเดินสายไฟ
• ตรวจสอบวาการเดนสายไฟไมอยในลกษณะทอาจประสบปญหาการฉกขาด ิ ู ั ี่ ี การกดกรอนั ความดนมากั
เกินไป การสั่นสะเทือน ขอบที่มีคม หรือผลกระทบรุนแรงดานสิ่งแวดลอมอื่นใด
• การตรวจสอบดงกลาวควรคานงถงผลกระทบจากอายการใชงานหรอแรงสนสะเทอนตั ํ ึ ึ ุ ื ั่ ื ื่ งอเนองจากแหล
ตางๆ เชน คอมเพรสเซอร หรือพัดลม
6. การตรวจหานํ้ายาแอรที่มีความไวไฟ
• หามใชแหลงกําเนิดไฟในการคนหาหรือตรวจหาการรั่วไหลของนํ้ายาแอรโดยเด็ดขาด
• ( )ไมควรใชหัวเปลวตรวจรั่ว หรืออุปกรณตรวจหาอื่นใดที่ใชเปลวไฟ
7. วิธีการตรวจหาการรั่วไหล
• ควรใชเครองตรวจหาการรวไหลอเลกทรอนกสตรวจหานายาแอร ื่ ั่ ิ ็ ิ ํ้ ที่มีความไวไฟ แต าความไวอาจไมเพยงค ี
พอ หรืออาจจําเปนตองสอบเทียบซํ้า ควรสอบเท ( ียบเครื่องตรวจหาการรั่วไหลในพื้นที่ที่ไมมีนํ้ายาแอร)
• ควรแนใจวาเครื่องตรวจหาการรั่วไหลดังกลาวจะไมเปนแหลงกําเนิดไฟและเหมาะกับนํ้ายาแอรที่ใช
• ควรตั้งคาเครื่องตรวจหาการรั่วไหลเปนรอยละของ LFL ของนํ้ายาแอร และควรสอบเทียบกับนํ้ายาแอร
ที่ใชงาน และตรวจยืนยันคารอยละที่ถูกตองของกาซ สูงสุด ( 25%)
• ของไหลท ณสมบ ในการตรวจหาการรวไหลจะเหมาะสมตอการใชงานกบนายาสวนใหญี่มีคุ ัติ ั่ ั ํ้ ไมควรใช
คลอรนที ี่มีสวนผสมของนายาซกผ เนองจากคลอรนอาจมปฏ ยากบนายาแอร และกดกรอนงานทํ้ ั า ื่ ี ี ิกิริ ั ํ้ ั อ
ทองแดง
• หากสงสัยวามีการรั่วไหลเกิดขึ้น ควรดับไฟหรือเคลื่อนยายออกไป
• หากพบวานํ้ายาแอรรั่วไหล ซึ่งจําเปนตองทําการเชื่อมประสานทอ จะตองถายนํ้ายาแอรทั้งหมดออกจาก
ระบบ หรอแยก วยว ดวาลวตางๆ ไปเกบไวในสวนใดสวนหน ื (ด ิธีป ) ็ ึ่ ึ่ ูห ั่ ังงของระบบซงอย างจากรอยรวด
กลาว จากนนใชไนโตรเจน ไลอากาศออกจากระบบใหหมดทงกอนและในระหวางกระบวนการ ั้ (OFN) ั้
เชื่อมประสาน
Th-3
12. การซอมแซม
• เมอถายนายาแอรออกจากระบบื่ ํ้ ไม าจะเพอซอมบารงหรอเพอยกเลกการใชงานระบบกตามว ื่ ํ ุ ื ื่ ิ ็ สิ่ ี่งทควร
ปฏิบัติก็คือควรถายนํ้ายาแอรทั้งหมดออกมาอยางปลอดภัย
• เมอถายนายาแอรไปยงกระบอกสื่ ํ้ ั ูบ ควรแนใจวาไดใชเฉพาะกระบอกสบถายนายาแอร เหมาะสมเทาน ู ํ้ ที่ ั้น
• ควรแนใจวาจํานวนของกระบอกสูบที่เหมาะสมสําหรับระบบที่เติมนํ้ายาแอรทั้งหมดมีเพียงพอ
• ควรกาหนดกระบอกสบทงหมดทใช บถายนายาแอร ออกมาํ ู ั้ ี่ สู ํ้ ที่ และปดปายบงชไว วอยางเช ี้ ตั ( น กระบอก
สูบพิเศษสําหรับสูบถายนํ้ายาแอรออกจากระบบ)
• กระบอกสูบควรติดตั้งวาลวลดความดัน และทํางานสัมพันธกับวาลวเปดในลําดับการทํางานที่ถูกตอง
• ควรลางทาความสะอาดกระบอกสบสาหรบสบถายน ํ ู ํ ั ู ํ้ ึ่ มีนํ้ายาแอรออกจากระบบซงไม ายาบรรจอยุ ู หากทาไดํ
และทําใหกระบอกสูบถายเย็นลงกอนจะเริ่มการสูบถายนํ้ายาแอรออกจากระบบ
• อุ ที่ ู ํ้ ั ํ ั ํ ี่ถู ีปกรณ ใชในการสบถายนายาแอรออกจากระบบควรจดวางในลาดบการทางานท กตองโดยมเอกสาร
แสดงขนตอนการทางานของอปกรณ นอยใกลั้ ํ ุ นั้ ู มือ และอปกรณ ใชในการสบถุ ที่ ู ายนายาแอรํ้ ออกจากระบบ
ควรมีความเหมาะสมตอการสูบถายนํ้ายาแอรที่มีความไวไฟออกจากระบบ
• นอกจากนี้ ควรมีเครื่องชั่งนํ้าหนักที่ผานการสอบเทียบแลวและจัดวางในลําดับการทํางานที่ถูกตอง
• ทอตางๆ ควรมีขอตอที่ไมมีรอยรั่วและอยูในสภาพดี
• กอนใชเครื่องสูบถาย ควรตรวสอบวาเครื่องสูบถายอยูในลําดับการทํางานที่ถูกตอง และมีการดูแลรักษา
เครองสบถายใหอยในสภาพด พรอมกบตรวจสอบวาได ดผนกชนสื่ ู ู ี ั ป ึ ิ้ วนทางไฟฟาทเกยวของแลวเพ ี่ ี่ ื่อ
ปองกันในกรณีที่มีการปลอยนํ้ายาแอร หากมีขอสังสัย ควรปรึกษาผูผลิต
• ควรคนนายาแอร บถายออกมาจากระบบใหแก ดจาหนายนายาแอรื ํ้ ที่สู ผูจั ํ ํ้ โดยบรรจไวในกระบอกสบถายุ ู
นํ้ายาแอรที่นําออกมาจากระบบ และควรจัดทําเอกสารแสดงการขนถายของเสียตามที่กําหนดไว
• หามนํานํ้ายาแอรไปผสมในเครื่องสูบถาย โดยเฉพาะในกระบอกสูบ
• หากคอมเพรสเซอรหรือนํ้ามันคอมเพรสเซอรไหลออกมา ควรแนใจวาไดทําความสะอาดคอมเพรสเซอร
หรือนํ้ามันคอมเพรสเซอรดังกลาวจนอยูในระดับที่ยอมรับไดแลว ทั้งนี้เพื่อใหแนใจวานํ้ายาแอรที่มีความ
ไวไฟจะไมคงคางอยูในนํ้ามันหลอลื่นนั้น
• กระบวนการทําความสะอาดควรดําเนินการกอนที่จะคืนคอมเพรสเซอรไปยังผูจัดจําหนาย
• ควรทําความรอนตัวเครื่องของคอมเพรสเซอรดวยไฟฟาเทานั้นเพื่อเรงกระบวนการนี้
• เมื่อระบายนํ้ามันออกมาจากระบบ ควรดําเนินการดวยความปลอดภัย
คําอธิบายสัญลักษณตางๆ จะแสดงอยูบนเครื่องภายในอาคารหรือเครื่องภายนอกอาคาร
คําเตือน สัญลักษณนี้แสดงวาเครื่องใชนํ้ายาแอรไวไฟ
หากนํ้
ายาแอร
รั่วไหลออกมาและมี
แหล
งก
ํ
าเน
ิ
ดไฟอย
ูดานนอก อาจเกิดไฟล
ุกไหมได
ขอควรระวัง สัญลักษณนี้แสดงวาควรอานคูมือการใชงานดวยความละเอียดรอบคอบ
ขอควรระวัง สั ั นี้ ี่ซ ํ ุ ูดํ ิ ั ื่ ี้ญลกษณ แสดงวาควรใหเจาหนาท อมบารงเปนผ าเนนการกบเครองน
โดยอางอิงจากคูมือการติดตั้ง
ขอควรระวัง สัญลักษณนี้แสดงวามีขอมูลอยูในคูมือการใชงาน และ หรือคูมือการติดตั้ง /
2. ขอมูลเกี่ยวกับเครื่องนี้
2.1. R32 (R410A)เครื่องพิเศษสําหรับนํ้ายาแอร
ชื่อของเครื่องมือ เปลี่ยนจาก ไปใช R22 R32(R410A)
เกจทอรวม
แรงดันมีคาสูง และไมสามารถวัดไดดวยเกจปกติ เพื่อปองกันความ (R22)
ผิ ํ้ ดพลาดจากการผสมนายาแอรชนดอิ ื่น พอรตเตมนายาจงมเส ิ ํ้ ึ ี นผานศนย ู
กลาง
ที่เปลี่ยนแปลงไป
ควรใชเกจท ผนกระหว ี่มี ึ าง -0.1 ถึง 5.3 MPa (-1
ถึง 53 บาร) สํ ั ันาหรบความด
สูง
-0.1 3.8 MPa (-1 38 ) ถึง ถึง บาร สําหรับความดันตํ่า
สายเติมนํ้ายาแอร วั ุ ิ ํ้ ี่สดและขนาดฐานของสายเตมนายาแอรจะเปลยนไป เพอเพมความตานทานื่ ิ่
ความดันที่เกิดขึ้น (R32/R410A)
ปมสุญญากาศ
ป ุ ิทั่ ิ ั้ ุ ดั มมสญญากาศปกต วไปสามารถใชได หากตดตงอปกรณ ดแปลงป
สุญญากาศ
หามใชปมสุญญากาศที่มีมอเตอรแบบอนุกรม
เครื่องตรวจจับกาซรั่ว เครองตรวจจบกาซรื่ ั ั่ ิ ิ ํ ั ํ้ ือวชนดพเศษสาหรบนายาแอร R32 หร
R410A
ประเภท
HFC
ทอทองแดง
จํ ท อาเปนตองใช อทองแดงไรรอยต และปรมาณนามนทตกคางอย องนิ ํ้ ั ี่ ูต อยกว มกา 40 . /10 ม
. อยาใช อทองแดง ท
ที่มีส ี่ น ี่ ูป ื ี่ ีวนทเคยตกหล เปลยนร หรอเปลยนส (โดยเฉพาะพนผวทื้ ิ มิ ั้น ื อดานใน) ฉะน วาลวขยาย หรอทอแคป
ลารีอาจอุดตันเนื่องจากสิ่งสกปรก
เนองจากเครองปรบอากาศทใช ายาแอร าใหเกดความดนสงกวาการใชื่ ื่ ั ี่ นํ้ R32(R410A) ทํ ิ ั ู ดั ั้ ึ ื R22 งนนจงตองเลอก
วัสดุที่มีความแข็งแรงเพียงพอ
ความหนาของทอทองแดงทใช แสดงไวในตารางดงตอไปน ามใช ี่ กับ R32(R410A) ั ี้ ห ทอทองแดงท ความหนาี่มี
นอยกวา มม แมวาจะมีจําหนายในทองตลาดก็ตาม 0.8 .
ความหนาของทอทองแดงหลอม
เสนผานศูนยกลางปรากฏ
( )นิ้ว
เสนผานศูนยกลางภายนอก
( .)มม ความหนา มม ( .)
1/4 6.35 0.80
3/8 9.52 0.80
8. การถายนํ้ายาแอร
• เมอเปดวงจรนายาแอรเพอทาการซอมแซมื่ ํ้ ื่ ํ หรอเพอการอนใดื ื่ ื่ ควรปฏ ตามขนตอนทวไปิบัติ ั้ ั่ อยางไร
ก็ สิ่ ํ ั ็คื ิบัติ ั ิบัติที่ดีที่สุ ื่ ิ ุ ิ่ ี่ตาม งสาคญก อควรปฏ ตามหลกปฏ ดเนองจากการตดไฟและการลกไหมเปนสงทควร
คํานึง ควรด ําเนินการตามขอปฏิบัติดังตอไปนี้
• ถายนํ้ายาแอร
• ไลอากาศในวงจรโดยใชกาซเฉื่อย
• ลาง
• ไลอากาศซํ้าอีกครั้งโดยใชกาซเฉื่อย
• เปดวงจรโดยตัดหรือเชื่อมประสาน
• การเติมนํ้ายาแอรควรสูบถายโดยใชกระบอกสูบถายที่เหมาะสม
• “ ” OFN ควร ลาง ระบบโดยใช เพื่อทําใหระบบปลอดภัย
• ขั้นตอนนี้อาจตองดําเนินการซํ้าหลายครั้ง
• ไมควรใชอากาศอัดหรือออกซิเจนในการดําเนินการดังกลาว
• การลางจะเสร็จสมบูรณโดยทําลายสุญญากาศในระบบออกโดยใช OFN เติมลงไปจนเกิดความดันที่เกิด
ขึ้นจากการทํางาน จากนั้นระบายสูบรรยากาศ และขั้นตอนสุดทายใหเปนสุญญากาศ
• ควรทํากระบวนการนี้ซํ้าหลายครั้งจนกวาไมมีนํ้ายาแอรหลงเหลืออยูในระบบ
• OFN เมื่อเติม ครั้งสุดทายเขาไป ควรระบายระบบจนเปนแรงดันบรรยากาศเพื่อใหสามารถทํางาน
• การทํางานนี้มีสวนสําคัญอยางยิ่ง หากจะทําการเชื่อมประสานบนงานทอ
• ควรแนใจชองออกของปมสุญญากาศไมอยูใกลกับแหลงกําเนิดไฟใดๆ และสามารถระบายอากาศได
9. ขอปฏิบัติในการเติมนํ้ายาแอร
• นอกจากขอปฏิบัติในการเติมนํ้ายาทั่วไปแลว ควรปฏิบัติตามขอบังคับดังตอไปนี้
- ควรแนใจวาไมมีการปนเปอนนํ้ายาแอรตางชนิดกันเมื่อใชอุปกรณเติมนํ้ายาแอร
- สายยางหรอทอตางๆื ควรสนท ดเทาทจะทาไดเพอลดปรมาณนายาแอร บรรจอยในสายยางและทั้ ี่สุ ี่ ํ ื่ ิ ํ้ ที่ ุ ู อ
ดังกลาวใหมีนอยที่สุด
- กระบอกสูบถายนํ้ายาแอรควรวางตั้งตรง
- ควรแนใจวาไดตอสายดินของระบบทําความเย็นแลวกอนที่จะเติมนํ้ายาแอรเขาระบบ
- ( )ปดปายระบบใหเรียบรอยเมื่อเติมนํ้ายาเสร็จแลว หากยังไมมี
- ควรระมัดระวังอยางที่สุดเพื่อไมใหเติมนํ้ายาแอรเขาสูระบบทําความเย็นมากเกินไป
• OFN กอนเติมนํ้ายาแอรเขาสูระบบ ควรตรวจสอบความดันโดยใช
• เมื่อเติมนํ้ายาแอรเสร็จเรียบรอยแลว ควรทดสอบการรั่วไหลของระบบกอนที่จะใชงาน
• ควรตรวจสอบการรั่วไหลซํ้าอีกครั้งกอนที่จะออกจากสถานที่ติดตั้ง
10. การยกเลิกใชงานระบบ
• ก ํ ิ ิบัตินีอนดาเนนการตามขอปฏ ้ สิ่ ํ ั ิ่ ื ูจั ุ ี ุ งสาคญอยางยงคอชางจะตองร กอปกรณและรายละเอยดของอปกรณ
นั้นอยางละเอียด
• สิ่งที่ควรปฏิบัติก็คือควรถายนํ้ายาแอรออกมาทั้งหมดอยางปลอดภัย
• ก ํ ิ ั อนดาเนนการดงกลาว ควรนาตวอยางนายาแอรและนามนไปทาการวเคราะห อนทจะนานายาแอรํ ั ํ้ ํ้ ั ํ ิ ก ี่ ํ ํ้ ที่
สูบถายมากลับไปใชซํ้า
• สิ่งสําคัญคือตองมีไฟฟาที่สามารถใชงานไดกอนเริ่มดําเนินการ
a) ตองรูจักอุปกรณและการทํางานของอุปกรณนั้น
b) หุมฉนวนระบบที่มีไฟฟา
c) :กอนทําตามขอปฏิบัติ ควรแนใจวา
• มีอุปกรณที่ใชจัดการกลไกตางๆ ของกระบอกสูบถายนํ้ายาแอรอยู หากจําเปนตองใช
• ควรจัดหาอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลทั้งหมด และควรสวมใสอุปกรณดังกลาวอยางถูกตอง
• กระบวนการสูบถายนํ้ายาแอรออกมาจะตองมีชางผูเชี่ยวชาญควบคุมดูแลตลอดเวลา
• อุปกรณและกระบอกสูบถายนํ้ายาแอรออกมาจะตองไดมาตรฐานที่กําหนด
d) ทําการดูดเก็บนํ้ายา หากทําได
e) หากไมมีสุญญากาศ ควรใชทอรวมเพื่อใหดึงนํ้ายาแอรออกมาจากสวนตางๆ ของระบบได
f) ควรแนใจวาตั้งกระบอกสูบไดถูกตองแลวกอนทําการสูบถาย
g) สตารทเครื่องสูบถายและปฏิบัติตามขอแนะนําของผูผลิต
h) ( 80% )หามใหกระบอกสูบถายจนลน ไมเกิน ของปริมาตรนํ้ายาแอรที่เปนของเหลว
i) หามใหกระบอกสูบมีแรงดันจากการทํางานมากเกินไป แมจะเกิดเพียงชั่วคราวก็ตาม
j) เมอกระบอกสบเตมตามกาหนดและเสรจสนกระบวนการแลื่ ู ็ ํ ็ ิ้ ว ควรแนใจวาไดถอดกระบอกสบและ ู
อุปกรณตางๆ ออกจากพื้นที่ทํางาน และปดวาลวแยกตางๆ ที่อยูบนอุปกรณแลว
k) ไมควรนานายาแอร บถายออกมาไปเตมในระบบทาความเยนอํ ํ้ ที่สู ิ ํ ็
ื่น เวนแตได างทาความสะอาดและ ล ํ
ตรวจสอบระบบดังกลาวเรียบรอยแลว
11. การปดปาย
• ควรปดปายที่เครื่องเพื่อบงชี้วามีการยกเลิกการใชงานระบบ และไมมีนํ้ายาแอรเหลืออยู
• ควรระบุวันที่และลงชื่อกํากับไวบนปาย
• ควรแนใจวาปายที่ติดอยูบนเครื่องระบุวาเครื่องบรรจุนํ้ายาแอรที่มีความไวไฟ
Produktspecifikationer
Varumärke: | Fujitsu |
Kategori: | Splitter |
Modell: | ASMG12CMCA |
Behöver du hjälp?
Om du behöver hjälp med Fujitsu ASMG12CMCA ställ en fråga nedan och andra användare kommer att svara dig
Splitter Fujitsu Manualer
4 Oktober 2024
3 Oktober 2024
30 September 2024
29 September 2024
29 September 2024
27 September 2024
26 September 2024
26 September 2024
26 September 2024
26 September 2024
Splitter Manualer
- Splitter Samsung
- Splitter Abus
- Splitter Apc
- Splitter Aluratek
- Splitter Akasa
- Splitter Nedis
- Splitter Hyundai
- Splitter Manhattan
- Splitter Black Box
- Splitter Audio-Technica
- Splitter Tripp Lite
- Splitter IFM
- Splitter Audiovox
- Splitter Konig
- Splitter D-Link
- Splitter Marmitek
- Splitter Zipper
- Splitter Newstar
- Splitter ATen
- Splitter Smart-AVI
- Splitter StarTech.com
- Splitter SIIG
- Splitter Xantech
- Splitter Televés
- Splitter KanexPro
- Splitter Rose Electronics
- Splitter Kramer
- Splitter SmartAVI
- Splitter Lindy
- Splitter Key Digital
- Splitter Omnitron Systems
- Splitter AMX
- Splitter Rolls
- Splitter WyreStorm
- Splitter MuxLab
- Splitter C2G
- Splitter Club 3D
- Splitter CLUB3D
- Splitter Comprehensive
Nyaste Splitter Manualer
23 Oktober 2024
17 Oktober 2024
7 Oktober 2024
5 Oktober 2024
2 Oktober 2024
29 September 2024
27 September 2024
25 September 2024
25 September 2024
25 September 2024